ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ฯ
เลขที่ใบอนุญาต จป ๑๓-๖๖-0๒๒
หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
อาศัยอำนาจตามความใน มาตรา 5 วรรคหนึ่ง และ มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (มีผลบังคับใช้ 16 สิงหาคม 2565)
ข้อ 2 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
หมวด 1
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
ข้อ 4 นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทที่ระบุในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
(1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง
(2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ
ข้อ 10 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 และบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวน 2 คนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี 3 ที่มีลูกจ้างจำนวน 20 คนขึ้นไป ต้องจัดให้ลูกจ้างระดับผู้บริหารซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 11 ทุกคน เป็น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร ของสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายใน 120 วัน นับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว
ข้อ 11 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารต้องเป็นลูกจ้างระดับผู้บริหาร และมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
(2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานฯ
(3) มีคุณสมบัติตามข้อ 21
ข้อ 12 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) กำกับดูแลเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของตน
(2) เสนอแผนงานหรือโครงการด้านความปลอดภัยในการทำงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อนายจ้าง
(3) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
(4) กำกับดูแลและติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้าง
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติหน้าที่ “จป.บริหาร” ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด
วันที่ฝึกอบรม | สถานที่ฝึกอบรม | จังหวัด | จำนวนผู้เข้าอบรม | ราคา/ ท่าน | ลงทะเบียน |
13,14 มกราคม 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
6,7 กุมภาพันธ์ 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
10,11 มีนาคม 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
21,22 เมษายน 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 6 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
15,16 พฤษภาคม 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 6 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | ยืนยัน ฝึกอบรม |
4,5 มิถุนายน 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
3,4 กรกฎาคม 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
14,15 สิงหาคม 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
9,10 กันยายน 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
6,7 ตุลาคม 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
6,7 พฤศจิกายน 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
11,12 ธันวาคม 2568 | ศูนย์ฝึก อบรม ISTE | บ้านบึง ชลบุรี | 30 / 30 ท่าน | 2,500 บาท | สำรองที่นั่ง โทรเลย |
ราคา Training In-House
หลักสูตร | ราคาปกติ | ราคาสมาชิก | จำนวนผู้เข้าอบรม |
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน “ระดับหัวหน้างาน” | 25,500 B | 24,500 B. | 20 ท่าน /รุ่น |
หลักสูตร ภาษาอังกฤษ
หลักสูตร | ราคาปกติ | ราคาสมาชิก | จำนวนผู้เข้าอบรม |
Safety Officer Supervisory level | 65,000 บาท | 60,000 บาท | 20 ท่าน/รุ่น |
ได้รับการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ฯ
เลขที่ใบอนุญาต จป ๑๓-๖๖-0๒๒
หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (มีผลบังคับใช้ 16 สิงหาคม 2565)
ข้อ 2 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
หมวด 1
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
ข้อ 4 นายจ้างของสถานประกอบกิจการประเภทที่ระบุในบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เว้นแต่เป็นสถานประกอบกิจการประเภทที่มีจำนวนลูกจ้างไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานมี 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
(1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยตำแหน่ง
(2) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานโดยหน้าที่เฉพาะ
ข้อ 10 นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 และบัญชี 2 ที่มีลูกจ้างจำนวน 2 คนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามบัญชี 3 ที่มีลูกจ้างจำนวน 20 คนขึ้นไป ต้องจัดให้ลูกจ้างระดับผู้บริหารซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 11 ทุกคน เป็น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร ของสถานประกอบกิจการ ทั้งนี้ ภายใน 120 วัน นับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว
ข้อ 11 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารต้องเป็นลูกจ้างระดับผู้บริหาร และมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
(2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานฯ
(3) มีคุณสมบัติตามข้อ 21
ข้อ 12 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) กำกับดูแลเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของตน
(2) เสนอแผนงานหรือโครงการด้านความปลอดภัยในการทำงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อนายจ้าง
(3) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
(4) กำกับดูแลและติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้าง
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติหน้าที่ “จป.บริหาร” ได้ตามที่กฎหมายกำหนด
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด